HRDs being interviewed by journalists

News

Thailand: Justice Rendered for Hrds in the Loei Attack Case

31 May 2016

Today, Lt Gen Poramet Pomnak and Lt Col Poramin Pomnak have been found guilty by the Loei Provincial Court for their implication in May 2014 attacks against human rights defenders and villagers in Na Nong Bong village in Loei Province.

This verdict was highly awaited as a sign of Thailand’s commitment to hold those responsible for criminal offences against human rights defenders to account. Khon Rak Ban Kerd Group (KRBKG), Fortify Rights, Community Resource Centre Foundation (CRC), and Protection International (PI) welcome this ruling in the following joint statement.

Thailand: Ensure Justice for Human Rights Defenders Attacked in Loei, Hold All Perpetrators Accountable

Court Convicts Two Men for Attacks on Loei Human Rights Defenders

(Loei, May 31, 2016)— Khon Rak Ban Kerd Group (KRBKG), Fortify Rights, Community Resource Centre Foundation (CRC), and Protection International (PI), welcomed the conviction of two men for May 2014 attacks by masked militiamen against human rights defenders and villagers in Na Nong Bong village in Loei Province. The organizations called on Thailand to uphold its obligations to protect human rights defenders and ensure further accountability for the attacks.

Today, the Loei Provincial Court convicted Army Lieutenant Colonel Poramin Pomnak and retired Army Lieutenant General Porames Pomnak for their alleged involvement in attacks against human rights defenders in Loei province on May 15, 2014.

Lt. Col. Poramin Pomnak and Lt. Gen. Porames Pomnak were the only two individuals charged for the attack on May 15, 2014, when at least 150 unidentified men—some in black masks carrying wooden sticks, knives, and guns—surrounded Na Nong Bong village and held captive scores of villagers, assaulting some. The unknown militia forced villagers to lie face down on the ground, with their hands tied on their back for several hours while trucks transported ore out of the mine site and village.

“We welcomed the court verdict today but note that until today the government has failed to hold all perpetrators accountable in this case,” said Pranom Somwong of Protection International. “We’re not convinced the authorities committed sufficient resources into investigating the attacks. The continued lack of accountability contributes to an atmosphere of fear for human rights defenders, who are under threat in Thailand.”

Lt. Col. Poramin Pomnak and Lt. Gen. Porames Pomnak were convicted for violating several sections of the Thai Criminal Code and the Gun, Ammunition, Explosive Substance, Firework and Artificial Gun Weapon Act, including causing bodily harm, depriving others of liberty, and the unnecessary use of a firearm in public. The two military personnel were sentenced to just under three years and two years respectively. The Court also ordered the two accused to pay compensation to nine villagers ranging from 2,600 – 25,000 Thai Baht (US$72 to US$700)

Most of the individuals attacked during the May 15 incident were members of the KRBKG, a community-based organization calling for the closure of the gold mine and redress for adverse health and environmental impacts potentially linked to the mine.

Surapun Rujichaiyavat, a member of KRBKG, told Fortify Rights: “One of the masked men pointed to me and said, ‘That is the leader.’ Then the other men arrested me. I was handcuffed and beaten. One man took my motorcycle key and another came and kicked me in my face. I was knocked out and fell down.”

“Heavy costs come with exercising your rights in Thailand,” said Amy Smith, Executive Director of Fortify Rights. “The courageous human rights defenders working to protect their land and their futures know these costs well.”

Almost a month before the attacks, members of the KRBKG issued an open letter to several Thai government agencies, including the National Human Rights Commission of Thailand, the Commander of the Royal Thai Army, the Thai Police, and others, requesting an investigation into ongoing threats and potential rights violations against villagers living in the area surrounding the gold mine in Loei.

“This case is the major test for Thailand’s commitments to ensure justice for human rights abuses committed against human rights defenders,” said Sor Rattanamanee Polkla, Coordinator of the Community Resource Centre Foundation (CRC). “The Thai authorities have an obligation under international laws to protect human rights defenders exercising their rights to freedom of expression and freedom of peaceful assembly and investigate alleged serious violation of human rights to bring perpetrators to account.”

CRC has provided legal representation to villagers injured in the attack and KRBKG members facing criminal and civil defamation charges related to their activities in protesting the mining operations. Since 2007, Tungkum Company Ltd.—the company operating the mine at Loei—has brought at least 19 criminal and civil lawsuits against 33 members of KRBKG and other villagers, including a complaint against a 15-year-old girl. Through these lawsuits, the company has sought 320 million Thai Baht (US$9.1 million). As of today, eight criminal and civil cases involving at least 25 villagers are pending.

The company also brought criminal charges against two local officials, Samai Phakmi and Khonglai Phakmi for allegedly violating Section 157 of the Criminal Code and allowing the posting of signs that were critical of the mine at the entrance gate in Na Nong Bong village. The Appeal Court today upheld the dismissal of the case against two local officials for lack of merit.

“We are only villagers defending our environment,” KRBKG members told Fortify Rights. “We have only our rights and no other kinds of weapons. We exercise our community rights”

Thailand recently affirmed its commitment to protect human rights defenders during the second U.N. Human Rights Council’s Universal Periodical Review of Thailand in Geneva on May 11, 2016. Thailand accepted recommendations from six countries to investigate reports of intimidation, harassment, and attacks on human rights defenders as well as ensure accountability.

Thai authorities should immediately reopen a thorough and independent investigation into these alleged serious violations of human rights, bring all the perpetrators to account and ensure effective remedies for the villagers whose rights were abused, said the organizations. Any adverse impacts potentially linked to the gold mine in Loei should also be promptly addressed.

“When we fight for our rights, we are beaten. When we were beaten, we tried to demand justice through the judicial system, but today we have gotten one step closer to justice,” said KRBKG, Pornthip Hongchai, Viron Rujichaiyavat, and Ranong Kongsaen “And, we will continue this fight. We will not retreat. We will not give up because this is our home.”

For more information, please contact:

Surapun Rujichaiyavat, Khon Rak Ban Kerd Group, +66.63.052.1249

Amy Smith, Fortify Rights, +66.87.795.5454,
Amy.smith [at] foritfyrights.org

Twitter: @AmyAlexSmith, @fortifyrights

Sor Rattanamanee Polkla, Community Resource Centre Foundation, +66.81.772.5843, sorrattana1 [at] gmail.com

Pranom Somwong, Protection International,
psomwong [at] protectioninternational.org

Twitter: @beePranom, @ProtectionInt


แถลงการณร์ ่วม ประเทศไทย:เพื่อประกันว่านักปกป้องสิทธิมนุษยชนในจังหวัดเลยที่ถูกปิดล้อมโจมตีจะได้รับความยุติธรรมอย่างเต็ มที่ และ ผู้กระทําผิดทั้งหมดต้องถูกลงโทษ

ศาลมีคําพิพากษาว่าจําเลยสองคนซึ่งถูกกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับการปิดล้อมโจมตีนักปกป้องสิทธิมนุษยชนในจังหวัดเ ลยมีความผิดตามฟ้อง

(จังหวัดเลย วันที่ 31 พฤษภาคม 2559) วันนี้ กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด องค์กรฟอร์ติไฟย์ไรท์ มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน และ โพรเท็กชัน อินเตอรเ์ นชันแนล แสดงความยินดีต่อกรณีที่ศาลมีคําพิพากษาลงโทษจําเลยต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากเหตุการณ์ความรุนแรง เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 ที่มีกองกําลังชายฉกรรจ์ติดอาวุธปิดบังใบหน้าเข้าปิดล้อมและทําร้ายนักปกป้องสิทธิมนุษยชนและชาวบ้านในหมู่บ้านนาหนอง บง จังหวัดเลย พวกเราองค์กรต่างๆ ดังมีรายนามข้างต้นขอเรียกร้องให้ประเทศไทยยึดมั่นต่อพันธกรณีที่จะต้องคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน

วันนี้ ศาลจังหวัดเลยมีคําพิพากษาว่า พันโท ปรมินทร์ ป้อมนาค และ พลโท ปรเมษฐ์ ป้อมนาค มีความผิดจริงในข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในเหตุการณ์

ปิดลอ้ มทําร้ายชาวบ้านและนักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่คัดค้านเหมืองแร่ทองคําในจังหวัดเลย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557

พันโท ปรมินทร์ ป้อมนาค และ พลโท ปรเมษฐ์ ป้อมนาค

เป็นผู้ต้องหาเพียงสองคนที่ถูกดําเนินคดแี ละพิพากษาว่ามีความผิดจากการเหตุการณค์ วามรุนแรงเมื่อวันที่15พฤษภาคม 2557 โดยเป็นตัวการและผู้ใช้ใหก้ ลุ่มชายฉกรรจ์ไม่ทราบฝ่ายอย่างน้อย 100 คน บางคนสวมหน้ากากสีดําพร้อมอาวุธท่อนไม้ มีด และปืน เข้าปิดล้อมหมู่บ้านนาหนองบง และทําร้ายและจับชาวบ้านจํานวนหนึ่งเป็นตัวประกัน กลุ่มกองกําลังไม่ทราบฝ่ายนี้บังคับให้ชาวบ้านนอนคว่ําหน้าลงกบั พื้น มัดมือชาวบ้านไพล่หลังไว้เป็นเวลาหลายชั่วโมงในระหว่างที่รถบรรทุกขนแร่ออกจากเหมืองและหมู่บ้าน

“พวกเรายินดีกับคําพิพากษาของศาลในวันนี้ แต่มีข้อสังเกตว่ารัฐบาลไทยยังล้มเหลวที่จะนําตัวผู้กระทําความผิดทุกคนมารับผิดชอบในกรณีดังกล่าว” กล่าวโดย ปรานม สมวงศ์ ผู้แทนองค์กรโพรเท็กชัน อินเตอร์เนชันแนล “พวกเราไม่เชื่อว่าเจ้าหน้าที่ได้ทุ่มเททรัพยากรอย่างเพียงพอในระหว่างการสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์โจมตีดังกล่าว การที่ผู้กระทําความผิดจํานวนมากยังลอยนวลพ้นผิดสร้างบรรยากาศแห่งความหวาดกลัวให้กับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ทําง านภายใตค้ วามเสยี่ งในประเทศไทย”

พันโท ปรมินทร์ ป้อมนาค และ พลโท ปรเมษฐ์ ป้อมนาค ถูกพิพากษาว่ากระทําผิดจริงตามประมวลกฎหมายอาญาหลายมาตรา และพระราชบัญญัติอาวุธปืน กระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 ซึ่งรวมถึง ข้อกล่าวหาเรื่อง การทําร้ายร่างกาย การกักขังหน่วงเหนี่ยวให้เสื่อมเสียเสรีภาพ และการยิงปืนในที่สาธารณะโดยไม่มีเหตุอันควร โดยศาลมีคําพิพากษาลงโทษจําคุกจําเลยที่ 1 พันโท ปรมินทร์ ป้อมนาค เป็นเวลา 2 ปี 12 เดือน และลงโทษจําคุกจําเลยที่ 2 พลโท ปรเมษฐ์ ป้อมนาค เป็นเวลา 1 ปี 12 เดือน

และให้จําเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้ชาวบ้านที่เป็นโจกท์ร่วม 9 คน เป็นเงินตั้งแต่ 2,600 – 25,000 บาท

ชาวบ้านส่วนใหญ่ที่บาดเจ็บจากเหตุการณ์ความรุนแรงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 คือ สมาชิกของกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด ซึ่งเป็นการรวมตวั กันของชุมชนหกหมู่บ้านเพื่อเรียกร้องให้ปิดเหมืองแร่ทองคําและฟื้นฟูผลกระทบทางด้านลบต่อสิ่งแวดล้อมแ ละสุขภาพของชาวบ้านซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการของเหมือง

นายสุรพันธ์รุจิไชยวัฒน์สมาชิกกลุ่มฅนรักษบ์ ้านเกิดให้สัมภาษณ์กับองค์กรฟอร์ติไฟย์ไรท์ว่า “ชายคนหนึ่งในกลุ่มที่สวมหน้ากากชี้มาทางผม แล้วพูดว่า คนนั้นไงแกนนํา หลังจากนั้นคนอื่นๆ ก็เข้ามารุมจับตัวผมไว้ ผมถูกใส่กุญแจมือและถูกทําร้าย” “ผู้ชายคนหนึ่งเอากุญแจรถมอเตอร์ไซด์ของผมไปจากนั้นอีกคนหนึ่งก็เข้ามาเตะผมเข้าที่ใบหน้า จนผมร่วงลงไปกองกับพื้น”

“ในประเทศไทย การที่ชาวบ้านลุกขึ้นมาใช้สิทธิของตนมักมีต้นทุนราคาแพง กล่าวโดย เอมี สมิธ ผู้อํานวยการ องค์กรฟอร์ติไฟย์ ไรท์ “นักปกป้องสิทธิมนุษยชนผู้กล้าหาญทํางานเพื่อปกป้องผืนดินและอนาคตของพวกเขารู้ซึ้งถึงต้นทุนราคาแพงนี้เป็นอย่างดี”

ประมาณหนึ่งเดือนก่อนที่จะมีเหตุการณ์ทําร้ายชาวบ้าน

สมาชิกของกลุ่มฅนรักษบ์ ้านเกิดได้ส่งจดหมายเปิดผนึกถึงหน่วยงานรัฐหลายหน่วยงานรวมถึง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้บัญชาการกองทัพบก และผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ เพื่อร้องเรียนให้สืบสวนสอบสวนหตุการณ์ข่มขู่และข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน รอบๆ เหมืองแร่ทองคําในจังหวัดเลย

“คดีนี้เป็นบททดสอบครั้งสําคัญของประเทศไทยต่อคํามั่นสัญญาที่ให้ไว้ว่าจะรับรองให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ถูกละเมิดสิท ธิได้รับความยุติธรรม เจ้าหน้าที่รัฐไทยมีพันธกรณีภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศที่จะคุ้มครองให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนสามารถใช้สิทธิและเสรีภ าพในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ และต้องสืบสวนสอบสวนข้อกล่าวหาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง รวมถึงต้องนําตัวผู้กระทําความผิดทุกคนมารับผิดชอบ” กล่าวโดย ส.รัตมณี พลกล้า ผู้ประสานงาน มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน

นอกจากนี้ มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชนให้คําปรึกษาและเป็นผู้แทนทางกฎหมายให้กับชาวบ้านที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ปิดล้อมโจมตี และสมาชิกกลุ่มฅนรักษบ์ ้านเกิดและชาวบ้านคนอื่นๆ ซึ่งถูกฟ้องร้องดําเนินคดีอาญาและคดีแพ่งเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทสืบเนื่องมาจากกิจกรรมการประท้วงคัดค้านการ ประกอบกิจการเหมืองแร่ นับตั้งแต่ปี 2550 บริษัท ทุ่งคํา จํากัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบกิจการเหมืองแร่ทองคําในจังหวัดเลย ได้ฟ้องร้องคดีความแพ่งและความอาญาจํานวน19คดีต่อสมาชิกกลุ่มฅนรักษบ์ ้านเกิดและชาวบ้านอื่นๆจํานวน33คน รวมถึงการแจ้งความเพื่อดําเนินคดีกับเยาวชนหญิงอายุ 15 ปี จากการฟ้องร้องคดีความเหล่านี้ บริษัทได้เรียกค่าเสียหายรวมเป็นเงินจํานวน 320 ล้านบาท และนับจนถึงวันนี้มีคดีความยังอยรู่ ะหว่างการพิจารณาอีก 8 คดี เกี่ยวข้องกับชาวบ้านจํานวน 25 คน

บริษัทเหมอื งแร่ยังฟ้องร้องคดตี ่อข้าราชการส่วนท้องถิ่นสองคน ได้แก่ นายสมัย ภักดิ์มี และนายกองลัย ภักมี ตามมาตรา 157 ของประมวลกฎหมายอาญา

ภายในเขตหมู่บ้านนาหนองบง ซึ่งในวันนี้ศาลอุทธรณ์มีคําพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้ยกฟ้องเนื่องจากคดีไม่มีมูล

“พวกเราเป็นเพียงชาวบ้านที่ลุกขึ้นมาปกป้องสิ่งแวดล้อม” สมาชิกของกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด ให้สัมภาษณ์กับองค์กรฟอร์ติไฟย์ ไรท์“พวกเรามีแค่สทิ ฺธิอยู่ในมือเราไม่มีอาวุธใดๆเราต่อสู้ด้วยความสุจริตใช้สิทธิชุมชนเท่านั้น“

เมื่อเร็วๆ นี้ ประเทศไทยได้ยืนยันคํามั่นสัญญาที่จะคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนในวาระการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของปร ะเทศไทย ครั้งที่ 2 โดยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 ซึ่งประเทศไทยยอมรับข้อเสนอแนะจากหกประเทศสมาชิกที่ให้สืบสวนสอบสวนรายงานว่ามีการข่มขู่ คุกคาม และทําร้ายนักปกป้องสิทธิมนุษยชน รวมถึงประกันให้มีการนําตัวผู้กระทําความผิดมารับผิดชอบ

ประเทศไทยควรสืบสวนสอบสวนคดีเพิ่มเติมอย่างรอบด้านและอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยช นขั้นร้ายแรง ต้องนําตัวผู้กระทําผิดทุกคนที่เกี่ยวข้องมารับผิดชอบ และประกันว่าชาวบ้านที่ถูกละเมิดสิทธิจะได้รับการชดเชยเยียวยาอย่างมีประสิทธิผล และให้การรับรองว่าผลกระทบด้านลบทอี่ าจเกี่ยวข้องกับกิจการเหมืองแร่ทองคําในจังหวัดเลยจะได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที กล่าวโดยองค์กรที่ร่วมลงนามในแถลงการณ์ฉบับนี้

“เมื่อพวกเราต่อสู้เพื่อสิทธิของพวกเรา พวกเรากลับโดนทําร้าย เมื่อพวกเราโดนทําร้าย พวกเราพยายามเรียกร้องความยุติธรรมตามกระบวนการยุติธรรม วันนี้พวกเราไดเ้ ข้าใกลค้ วามยุติธรรมอีกหนึ่งก้าว” นางพรทิพย์ หงส์ชัย นางวิรอน รุจิไชยวัฒน์ และนางระนอง กองแสน สมาชิกกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด บอกกับฟอร์ติไฟย์ ไรท์เมื่อเร็วๆ นี้ “และพวกเราก็จะสู้ต่อ พวกเราถอยไม่ได้ พวกเราจะไม่ยอมแพ้เพราะที่นี่ คือ บ้าน ของพวกเรา”

ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ

สุรพันธ์ รุจิไชยวัฒน์ กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด โทร. 083-052-1249

เอมี สมิธ องค์กรฟอร์ติไฟย์ไรท์ โทร. 087-795-5454 อีเมล์ amy.smith [at] fortifyrights.org ส.รัตนมณีพลกล้ามลู นิธิศูนย์ข้อมูลชุมชนโทร.081-772-5843อีเมล์sorrattana1 [at] gmail.com ปรานม สมวงศ์ องค์กรโพรเท็กชัน อินเตอร์เนชันแนล psomwong [at] protectioninternational.org